ความสําคัญของคณิตศาสตรสําหรับปฐมวัย
1. ทำใหเปนคนคิดเปน
ทำเปน แกปญหาเปน โดยเฉพาะอาศัยหลักการทางคณิตศาสตรเปนพื้นฐาน
2
ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิผล
4. เปนเครื่องมือที่สําคัญในการสํารวจขอมูล
วางแผนงานและประเมินผลการดําเนินงาน
5. เรียนวิชาตางๆ
ไดดี เพราะคณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการเรียนรูของวิชาอื่นๆโดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1. เพื่อใหเด็กมีความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร
เชน การรูจักคําศัพท
2. เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร
เชน การบวก ลบ
3.เพื่อใหเด็กรูจักและใชกระบวนการหาคําตอบ
4. เพื่อใหเด็กฝกฝนคณิตศาสตรพื้นฐาน
5.เพื่อใหเด็กมีความรูความเขาใจ
6. เพื่อสงเสริมใหเด็กคนควาหาคําตอบดวยตนเอง
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
ดังนี้
1. การจำแนกประเภท
2. การจัดหมวดหมู่
3. การเรียงลำดับ
4. การเปรียบเทียบ
5. รูปร่างรูปทรง
6. พื้นที่
7. การชั่งตวงวัดการนับ
8. การรู้จักตัวเลข
9. รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนกับตัวเลข
10.
เวลา
11.
การเพิ่มและลดจำนวน
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(การอ้างอิง)
เยาวพา เดชะคุปต (2541 : 83)
กลาวถึงจุดมุงหมายของการสอนคณิตศาสตร
เพื่อใหเด็กปฐมวัยเกิดความเขาใจในสิ่งตาง
ๆ ตอไปนี้
1.
เกิดความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร
2.
มีความสามารถในการแกปญหา
3.
มีทักษะและวิธีการในการคิดคํานวณ
3.
สรางบรรยากาศในการคิดอยางสร้างสรรค์
5. สงเสริมความเปนเอกัตบุคคลในตัวเด็ก
6.
สงเสริมกระบวนการในการสืบสวนสอบสวน
7.
สงเสริมกระบวนการคิดโดยใช้เหตุผล
คมขวัญ ออนบึงพราว (2550: 13) ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เป็นนกระบวนการทางความคิดและการพัฒนาความสามารถด้านต่าง ๆ ตั้งแต่การรู้ค่าจำนวน
การจัด หมวดหมู การจำแนกเปรียบเทียบ การเรียงลำดับ และการหาความสัมพันธ์ซึ่งสิ่งเหล่านี้เด็กจะเรียนรู้
ได้จากการจัดกิจกรรมของครู แต่ในการจัดกิจกรรมจะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมกับพัฒนาการ
ของเด็กเพื่อที่เด็กจะไดพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ
นิตยา ประพฤติกิจ (2541 :
17-19)ไดกล่าวว่า ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ ในระดับ ปฐมวัยควรประกอบ ด้วยทักษะ
ดังต่อไปนี้
1. การนับ (Counting)
เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก การนับอย่างมีความหมาย
การนับตามลำดับ ตั้งแต 1-10 หรือมากกว่า
2. ตัวเลข (Number)
เป็นการให้เด็กรูจักตัวเลขที่เห็น หรือใช้ในชีวิตประจำวัน เล่นของเล่นที่เกี่ยวกับตัวเลข
นับและคิดเองโดยครูเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรม อาจมี การเปรียบเทียบด้วย เช่น
มากกว่า น้อยกว่า
3. การจับคู (Matching) เป็นการฝึกฝน รูจักสังเกตลักษณะ
จับคู เหมือนกัน หรืออยูประเภทเดียวกัน
4. การจัดประเภท (Classification) ให้รูจักการสังเกต คุณสมบัติสิ่งรอบตัว ในเรื่องของ เหมือนกันหรือแตกต่างกันในบางเรื่อง
การจัดประเภท
5. การเปรียบเทียบ (Comparing)
ตองมีการสืบเสาะและหาความสัมพันธ์ ของสองสิ่ง รู้มากกวา น้อยกว่า
ยาว สั้น เบา หนัก
6. การจัดลำดับ (Ordering)
การจัดสิ่งของชุดหนึ่ง
ๆ ตาม คําสั่ง หรือตาม กฎ เชน จัดบล็อก 5 แทง ที่มีความยาวไมเท่ากัน
เรียงลําดับจากสูงไปต่ำ สั้นไปยาว
7. รูปทรง หรือ เนื้อที่ (Shape
and Space)
นอกจากใหเด็กไดเรียนรูเรื่องรูปทรง และเนื้อที่จากการเลนตามปกติแลว
ครูยังตองจัดประสบการณใหเด็กไดเรียนรูเกี่ยวกับ วงกลม สามเหลี่ยม
สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผา ความลึกตื้น กวางแคบ
8. การวัด (Measurement) ใหเด็กลงมือวัดดวยตนเอง
ใหรูจักความยาว และระยะ รูจักการชั่งน้ำหนัก และรูจักประมาณคราว ๆ
9. เซต (Set) การสอนเรื่องเซต
จากสิ่งรอบ ๆ ตัว มีการเชื่อมโยงกับ สภาพรวม เชน รองเทา กับ ถุงเทา หองเรียนมีบุคคลหลายประเภท
แยกเปนเซต คือ นักเรียน ครูประจําชั้น ครูชวยสอน เปนตน
10.
เศษสวน (Fraction) สอนความคิดรวบยอดเกี่ยวกับครึ่งเนนสวนรวม
(The Whole Object) ใหเด็กเห็นก่อนมีการลงมือ ปฏิบัติเพื่อให้เด็กไดเขาใจความหมายครึ่ง
11. การทําตามแบบหรือลวดลาย
(Patterning) เปนการพัฒนาใหเด็กจดจํารูปแบบ หรือลวดลาย
จําแนกดวยสายตา การสังเกต ฝกทําตามแบบและลากตอจุด ใหสมบูรณ
12. การอนุรักษ หรือ
การคงที่ดานปริมาณ ( Conservation) ชวงวัย 5 ขวบ ขึ้นไป ครูอาจเริ่มสอนเรื่องการอนุรักษไดบาง
โดยใหเด็กไดลงมือปฏิบัติจริง จุดมุงหมายของการสอนเรื่อง คือเด็กไดมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษที่วา
จะยายที่หรือทําใหมีรูปรางเปลี่ยนไปก็ตาม
เยาวพา เดชะคุปด (2542 : 87-88) ไดเสนอการสอนคณิตศาสตรแนวใหมที่ครู ควรศึกษาเพื่อจัดประสบการณใหกับเด็ก
ดังนี้
1. การจัดกลุมหรือเซต สิ่งที่ควรสอนไดแก การจับคู 1 : 1 การจับคูสิ่งของ
การรวมกลุม กลุมที่เทากัน และ ความเขาใจเกี่ยวกับตัวเลข
2. จำนวน 1-10 การฝกนับ 1-10 จํานวนคู จํานวนคี่
3. ระบบจำนวน (Number System) และชื่อของตัวเลข 1= หนึ่ง 2 = สอง
4. ความสัมพันธระหวางเซตตาง
ๆ เชน เซตรวม การแยกเซต ฯลฯ
5. สมบัติของคณิตศาสตรจากการรวมกลุม (Properties of Math)
6. ลําดับที่ สําคัญ และประโยคคณิตศาสตร ไดแก ประโยคคณิตศาสตรที่แสดงถึง จํานวน
ปริมาตร คุณภาพตาง ๆ เชน มาก-นอย-สูง-ต่ำ ฯลฯ
7. การแกปญหาทางคณิตศาสตร เด็กสามารถวิเคราะหปญหางาย ๆ ทางคณิตศาสตรทั้งที่
เปนจํานวน
และไมเปนจํานวน
8. การวัด (Measurement)ไดแก
การวัดสิ่งที่เปนของเหลว สิ่งของ เงินตรา อุณหภูมิ รวมถึงมาตราสวน
และเครื่องมือในการวัด
9. รูปทรงเรขาคณิต ไดแก การเปรียบเทียบ รูปราง ขนาด ระยะทาง เชน รูปสิ่งของ ที่มีมิติตาง
ๆ จากการเลนเกม และจากการศึกษาถึงสิ่งที่อยูรอบ ๆ ตัว
10. สถิติ และกราฟ ไดแก การศึกษาจากการบันทึกทําแผนภูมิการเปรียบเทียบตาง ๆ
สรุปได้ว่า
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เป็นทักษะเบื้องต้นที่จะนำไปสู่การเรียนรู้ คณิตสาสตร์
เด็กต้องได้รับประสบการณ์ และการฝึกฝนให้เกิดทักษะในเรื่องการสังเกต การจำแนก เปรียบเทียบ การจัดกลุ่ม
การเรียงลำดับ การบอกตำแหน่ง การนับ จำนวน ขนาด รูปทรง การวัด มิติสัมพันธ์
และเวลา เพื่อเป็นทักษะพื้นฐานในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูง
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับปฐมวัยตามแนวทางของ
สสวท.
การเรียนรูคณิตศาสตรระดับปฐมวัย
มุงหวังใหเด็กทุกคนไดเตรียมความพรอมดาน ตางๆ ทางคณิตศาสตร
อันเปนพื้นฐานการเรียนรูคณิตศาสตรในชั้นประถมศึกษา โดยกำหนดสาระ หลักที่จำเปนสำหรับเด็กปฐมวัย
ดังนี้ (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.), 2554)
1. จำนวนและการดำเนินการ หมายถึง การแสดงจำนวนและการใชจํานวน ในชีวิตประจําวันในการบอกปริมาณที่ไดจากการนับ
การอานเขียนตัวเลขฮินดูอารบิคและเลขไทย รวมถึงการแสดงจํานวน การเปรียบเทียบจํานวน
การเรียงลําดับจํานวน การรวมกลุมของสิ่งตาง ๆ สองกลุมที่มีผลรวมไมเกิน 10
และการแยกยอยออกจากกลุมใหญที่มีจํานวนไมเกิน 10
2. การวัด หมายถึง การแสดงการเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว น้ําหนัก ปริมาตร
เงินและเวลาโดยใชเครื่องมือและหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน
3. เรขาคณิต หมายถึง
การบอกตําแหนง ทิศทางและระยะทาง ของสิ่งตาง ๆ เชน ใกล-ไกล หนา-หลัง ใน-นอก
บน-ลาง ทิศทาง การจําแนกรูปเรขาคณิตและเขาใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่
เกิดจาก การจัดกระทําเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติและสองมิติ เชน ทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยม
มุมฉาก กรวย และทรงกระบอก และรูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม
4. พีชคณิต หมายถึง
การจัดกิจกรรมแบบรูปและความสัมพันธแบบรูปของรูปที่มี รูปราง ขนาด หรือ สี
ที่สัมพันธกันอยางใดอยางหนึ่ง
5. การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน
หมายถึง
การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับ ตนเองและสิ่งแวดลอมและนําเสนอขอมูลในรูปแผลภูมิอยางงาย
6. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
หมายถึง
การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับ จํานวน การวัด เรขาคณิตศาสตร พืชคณิต
และการวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนโดย การสอดแทรกทักษะกระบวนการแกปญหา
การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
7. ทางคณิตศาสตร
การนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยงคณิตศาสตร กับศาสตรอื่น
ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : 33)ไดกําหนดสาระการเรียนรูทางดานสติปญญา ที่เกี่ยวของกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรไวในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช
2546 ดังนี้
1. การสังเกต การจําแนก และการเปรียบเทียบ ไดแก
1.1 การสํารวจและอธิบาย
1.2 การจับคูการจําแนกและการจัดกลุม
1.3 การเปรียบเทียบ เชน สั้น-ยาว
ขรุขระ-เรียบ
1.4 การเรียงลําดับสิ่งตาง
ๆ
1.5 การคาดคะเนสิ่งตาง ๆ
1.6 การตั้งสมมติฐาน
1.7 การทดลองสิ่งตาง ๆ
1.8 การสืบคนขอมูล
1.9 การใชหรืออธิบายสิ่งตาง ๆ
ดวยวิธีการที่หลากหลาย
2. จํานวน
2.1 การเปรียบเทียบจํานวนมากกวา
นอยกวา เทากัน
2.2 การนับสิ่งตาง
ๆ
2.3 การจับคูหนึ่งตอหนึ่ง
2.4 การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของปริมาณ
3. มิติสัมพันธ
3.1 การตอเขาดวยกัน
3.2 การสังเกตสิ่งตาง
ๆ และสถานที่มุมมองที่ตางกัน
3.3 การอธิบายในเรื่องของตําแหนงของสิ่งตาง
ๆ ที่สัมพันธกัน
3.4 การอธิบายเรื่องทิศทางการเคลื่อนที่ของคนและสิ่งตาง
ๆ
3.5 การสื่อความหมายของมิติสัมพันธดวยการวาด
ภาพถายและรูปภาพ
4. เวลา
4.1 การเริ่มตนและหยุดกระทําโดยสัญญาณ
4.2 การเปรียบเทียบเวลา
เชน ตอนเชา ตอนเย็น เมื่อวานนี้ พรุงนี้
4.3 การเรียงลําดับเหตุการณตาง
ๆ
4.4 การสังเกตความเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล
สภาครูคณิตศาสตรแหงชาติ (NCTM, อางถึงใน Worthem , 1994) กล่าวเนื้อหาของคณิตศาสตร
ไดกําหนดเนื้อหาคณิตศาสตรซึ่งถือวาเปนสวนหนึ่งของเปาหมายใหญ่
ด้านสังคมและการใชชีวิตเมื่อเติบใหญ โดย
กำหนดไวในหลักสูตรอนุบาล
ดังนี้
1.
การแกปัญหา (Problem
Solving)
2.
การติดต่อสื่อสาร (Communication)
3.
การมีเหตุผล (Reasoning)
4.
การเชื่อมโยง (Connections)
5.
การประมาณคําตอบ (Estimation)
6.
ความรูสึกเกี่ยวกับจํานวนและตัวเลข (Number Sense and Numeration)
7.
ความคิดรวบยอดในการจัดกระทํากับจำนวนนับและ 0 (Whole Number Operation)
8.
การคํานวณจํานวนนับและศูนย์ (Whole Number Computation)
9.
ความรูสึกเกี่ยวกับเรขาคณิตและมิติสัมพันธ (Geometry and Spatial Sense)
10. การวัด (Measurement)
11. สถิติและความนาจะเป็น (Statistics
and Probability)
12. เศษสวนและทศนิยม (Fractions
and Decimals)13. รูปแบบและความสัมพันธ
(Patterns and Relationships)
กรมวิชาการ (2546: 38) เนื้อหาของกิจกรรมทางคณิตศาสตรของ กรมวิชาการ
มีดังนี้
1. การจําแนกและการเปรียบเทียบ ไดแก
1.1
การสํารวจและการอธิบายความเหมือน ความตางของสิ่งตาง ๆ
1.2 การจับคู การจําแนก
และการจัดกลุม
1.3 การเปรียบเทียบ เชน ยาว /
สั้น ขรุขระ / เรียบ ฯลฯ
1.4 การเรียงลําดับสิ่งตาง ๆ
1.5 การตั้งสมมติฐาน
1.6 การทดลองสิ่งตาง ๆ
1.7 การสืบคนขอมูล
1.8 การใชหรืออธิบายสิ่งตาง ๆ
ดวยวิธีการที่หลากหลาย
2.
จํานวนไดแก
2.1 การเปรียบเทียบจํานวน มากกวา
นอยกวา เทากัน
2.2 การนับสิ่งตาง ๆ
โดยการทองจํา
2.3 การจับคูหนึ่งตอหนึ่ง
2.4
การเพิ่มขึ้นการลดลงของจํานวนหรือปริมาณ
3. มิติสัมพันธ (พื้นที่ / ระยะ) ไดแก
3.1 การตอเขาดวยกัน การแยกออก
การบรรจุและการเทออก
3.2 การสังเกตสิ่งตาง ๆ
และสถานที่มุมมองที่ตาง ๆ กัน
3.3
การอธิบายในเรื่องของตําแหนงของสิ่งตาง ๆ ที่สัมพันธกัน
3.4
การอธิบายในเรื่องของทิศทางของการเคลื่อนที่ของคนและสิ่งตาง ๆ การสื่อ
ความหมายของมิติสัมพันธดวยการวาด ถายภาพ
รูปภาพ
3.5 การสื่อความหมายของมิติสัมพันธดวยการวาด
ภาพถาย และรูปภาพ
หลักการสอนคณิตศาสตร์
เพียเจท (Piaget, อางถึงใน หรรษา นิลวิเชียร, 2535 : 118) ไดใหเทคนิคซึ่งเป็นหลัก
สําคัญของการที่เด็กจะพัฒนา และเรียนรูความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. เด็กจะสรางความรูทางคณิตศาสตรโดยการจัดกระทำต่อวัตถุโดยวิธีธรรมชาติหรือดวยตนเอง
2. เด็กทำความเข้าใจกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์หลังจากที่เด็กเข้าใจการใช
เครื่องหมาย
3. เด็กควรทาความเข้าใจความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ก่อนที่จะเรียนรูการใช สัญลักษณ์
ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์นิตยา
ประพฤติกิจ (2541: 22-33) ได้กล่าวถึงหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก
ปฐมวัยไว ดังนี้
1. สอนให้สอดคลองกับชีวิตประจำวัน
การเรียนรูของเด็กจะเกิดขึ้นเมื่อเด็กมองเห็น ความจําเปนและประโยชนของสิ่งที่ครูกําลังสอน
ดังนั้นการสอนคณิตศาสตร์แกเด็กจะตอง สอดคลองกับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
เพื่อใหเด็กตระหนักถึงเรื่องคณิตศาสตรทีละนอย และ ชวยใหเด็กเขาใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ในขั้นตอไปแตสิ่งที่สำคัญที่สุด
คือการใหเด็กไดปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและครู
2. เปดโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณ์ทำใหพบคําตอบดวยตนเอง ครูจะตองเปด โอกาสใหเด็กไดรับประสบการณที่หลากหลาย
และเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมมี โอกาสไดลงมือปฏิบัติจริงซึ่งเป็นการสนับสนุนใหเด็กได้ค้นพบคําตอบดวยตนเอง
พัฒนา ความคดและความคิดรวบยอดได้ดวยตนเองในที่สุด
3. มีเปาหมายและมีการวางแผนที่ ครูจะต้องมีการเตรียมการเพื่อใหเด็กคอย ๆ พัฒนาการเรียนรูขึ้นเอง
และเปนไปตามแนวทางที่ครูวางไว
4. เอาใจใสเรื่องการเรียนรูและลําดับของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก ครู ตองมีความเอาใจใสเรื่องการเรียนรูเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
โดยเฉพาะลำดับการพัฒนาความคิดรวบยอด ทักษะทางคณิตศาสตร์ โดยคํานึงถึงหลักทฤษฎี
5. ใชวิธีการจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใชในการวางแผนและจัดกิจกรรม การจดบันทึก
ดานทัศนคต ิ
ทักษะ และความรูความเขาใจของเด็กในขณะทํากิจกรรมตาง ๆ เปนวิธีการที่ทํา ใหครูวางแผนและจัดกิจกรรมไดเหมาะสมกับเด็ก
6. ใชประโยชนจากประสบการณเดิมของเด็ก
เพื่อสอนประสบการณใหมในสถานการณ ใหมประสบการณทางคณตศาสตร์ของเด็ก อาจเกดจากกิจกรรมเดิมที่เคยทํามาแลวหริอเพิ่มเติม
ขึ้นอีกได แม้ว่าจะเปนเรื่องเดิมแตอาจอยในสถานการณ์ใหม่
7. รูจักใชสถานการณขณะนั้นใหเปนประโยชน์
ครูสามารถใชสถานการณที่กําลังเปนอยู และเห็นไดในขณะนั้นมาทำให้เกิดการเรียนรูดานจํานวนได
8. ใชวิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริง
เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยาก การสอนความคิด รวบยอดเรื่องปริมาณขนาด และรูปรางตาง
ๆ ตองสอนแบบคอย ๆ สอดแทรกไปตาม ธรรมชาติใหสถานการณที่มีความหมายต่อเด็กอยางแท้จริง
ใหเด็กไดทั้งดูและจับตอง และ ทดสอบความคิดของตนเองในบรรยากาศที่เปนกันเอง
9. ใชวิธีใหเด็กมีสวนรวมหรือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับตัวเลข
สถานการณ์และสภาพแวดลวนมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ครูสามารถนํามาใชในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับตัวเลขได
เพราะตามธรรมชาติของเด็กนั้นสนใจในเรื่องการนับสิ่งตาง ๆ รอบตัว รวมทั้งการจัด กิจกรรมการเลนเกมก็เปดโอกาสใหเด็กเขาใจในเรื่องตัวเลขดวย
10. วางแผนสงเสริมใหเด็กเรียนรู้ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านอยางตอเนื่อง
การวางแผน การสอนนั้นครูควรวิเคราะห และจดบันทึกดวย กิจกรรมใดที่ควรสงเสริมใหทีบ้านและที่
โรงเรียน โดยยึดหลักความพรอมของเด็กเปนรายบุคคลเป็นหลัก และมีการวางแผนรวมกับ ผูปกครอง
11. บันทึกปญหาการเรียนรูของเด็กอยางสม่ำเสมอเพื่อแกไข
และปรับปรุงการจด บันทึกอยางสม่ำเสมอ ชวยใหทราบวามีเด็กคนใดยังไมเขาใจ
และตองจัดกิจกรรมเพิ่มเติมอีก
12. ในแตละครั้งครูควรสอนเพียงความคดรวบยอดเด
ิ ียว และใชกิจกรรมที่จัดใหเดกได ็ ลงมือปฏิบัติจริง เด็กจึงจะเกิดการเรียนรู
13. เนนกระบวนการเลนจากงายไปหายาก
การสรางความคิดรวบยอดเกี่ยวกับตัวเลข ของเด็ก จะต้องผ่านกระบวนการเลนมีทั้งแบบจัดประเภท
เปรียบเทียบ และจดลำดับ ซึ่งตอง อาศัยการนับ เศษสวน รูปทรง และเนื้อที่การวัด
การจัดและการเสนอขอมูล ซึ่งเปนพื้นฐาน ไปสูความเขาใจเรื่องคณิตศาสตร์ต่อไป จึงจําเปนตองเริ่มตนตั้งแต่งายและค่อยๆ
ยากขึ้นตามลําดับ
14. ควรสอนสัญลักษณตัวเลขหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเขาใจสิ่งเหลาน
ั้นแลว การใช สัญลักษณตัวเลขหรือเครื่องหมายกับเด็กนั้นทําไดเมื่อเด็กเขาใจความหมายแลว
15. ตองมีการเตรียมความพรอมในการเรียนคณิตศาสตร การเตรียมความพร้อมนั้น
จะตองเริ่มจากการฝกสายตาเปนอันดับแรก เพราะหากเด็กไมสามารถใชสายตาในการจําแนก
ประเภทแลว เด็กจะมีปญหาในการเรียนรูทางคณิตศาสตร
วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2542) กลาวถึงหลักการสอนคณิตศาสตร ดังนี้
2. ใหมีสวนรวมในกิจกรรมที่เกี่ยวกับโลกทางดานกายภาพกอนเขาไปสูโลกของการคิด
ดานนามธรรม
3. ใหมีการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ได้แก่ การจัดหมวดหมู่ การเปรียบเทียบ การ
เรียงลำดับ
การจัดทำกราฟ การนับ จำนวน การสังเกต การเพิ่มขึ้น และลดลงของจำนวน
4. ขยายประสบการณทางคณิตศาสตรใหสอดคลอง
โดยเรียงลำดับจากง่ายไปหายาก
5. ฝกทักษะเบื้องตนในดานการคดคิ
ํานวณ โดยสรางเสริมประสบการณแกเด็กในการ เปรียบเทียบรูปรางตาง ๆ บอกความแตกตางของขนาด
น้ำหนัก ระยะเวลา จำนวนของสิ่ง ตางๆ ที่อยูรอบตัวเด็ก สามารถแยกหมวดหมู
เรียงลําดับ ใหญ่ เล็ก หรือสูง ต่ำ เปนตน ซึ่งทักษะเหลานี้จะชวยใหเด็กพร้อม
ที่จะคิดคํานวณตอไป